พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
ราหูอมจันทร์ หล...
ราหูอมจันทร์ หลวงพ่อน้อย วัดศรีษะทอง เลี้ยมเงินเก่า
สุดยอดเบญจเครื่องรางชนิดหนึ่งซึ่งไม่มีใครไม่รู้จัก นั่นก็คือ "ราหูอมจันทร์ หลวงพ่อน้อย" หลวงพ่อน้อยใช้กะลาตาเดียวมาแกะเป็นรูปราหูอมจันทร์เป็นทรงกลม, ทรงสามเหลี่ยม และทรงเสมา ช่วงแรก ๆ หลวงพ่อน้อยจะเป็นคนแกะเอง ต่อมาราหูอมจันทร์เริ่มโด่งดัง หลวงพ่อน้อยจึงให้ลูกศิษย์มาช่วยแกะ และหลวงพ่อน้อยเป็นคนจารอักขระเอง ลูกศิษย์สายตรงได้แก่ อาจารย์ปิ่น และอาจารย์สม และช่างชาวบ้านที่ช่วยแกะและแกะได้สวยงามมากได้แก่ ช่างสี ช่างสีบ้านอยู่หลังวัดศรีษะทอง ช่างสีแกะราหูอมจันทร์ตั้งแต่ยุคหลวงพ่อน้อย จนถึงยุคอาจารย์ปิ่น ตอนนี้วิชาการแกะก็ถ่ายทอดสู่ลูก ๆ หลานไป

หลักการพิจารณาราหูอมจันทร์หลวงพ่อน้อย วัดศรีษะทอง

วิธีการสร้างราหูอมจันทร์ ซึ่งแกะจากกะลาตาเดียว หลวงพ่อน้อยได้สืบทอดวิชามาจากหลวงพ่อไตร ซึ่งช่วงแรก ๆ นั้น การแกะราหูอมจันทร์เป็นแบบง่าย ๆ โดยรูปทรงจะไม่แน่นอน จะเป็นสามเหลี่ยมบ้าง วงกลมบ้าง แต่ทุกชิ้นที่แกะจะค่อนข้างใหญ่ ส่วนอักขระที่จารก็เป็นขอมลาวทั้งสิ้น ต่อมาถึงยุคหลวงพ่อน้อยก็เริ่มแกะเป็นทรงเสมา ซึ่งเป็นมาตรฐานเล่นหากันจนถึงปัจจุบัน

หลักการพิจารณาแม่พิมพ์

แม่พิมพ์ซึ่งเกิดจากการแกะเราจึงควรเรียกว่า "ศิลปะแบบไหน" จะเข้าใจกว่า ราหูอมจันทร์แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ

1. ศิลป์โบราณ มีทั้งทรงสามเหลี่ยม ทรงกลม ทรงรี คือรูปทรงไม่แน่นอน แต่อันค่อนข้างใหญ่ มีทั้งแบบราหูหน้ายักษ์แบบมีแต่หัว และแบบอมจันทร์ แต่การแกะจะไม่ค่อยสวย แกะแบบง่าย ๆ มีทั้งลงรักปิดทอง และแบบเปลือย อักขระจารตัวค่อนข้างใหญ่

2. ศิลป์มาตรฐาน จะเป็นตั้งแต่ยุคหลวงพ่อน้อยลงมาถึงยุคอาจารย์ปิ่น ศิลป์แบบนี้จะเป็นมาตรฐาน ส่วนใหญ่จะเป็นทรงเสมาเป็นหลัก อักขระที่จารเป็นมาตรฐาน ควรเล่นแบบลายมือเป็นระเบียบขนาดตัวเล็กถึงขนาดกลาง ส่วนใหญ่จะจาร 2 สูตร คือ จันทรุปราคาและสุริยุปราคา

หลักการพิจารณาความเก่าเนื้อกะลา

ราหูอมจันทร์เมื่อพิจารณาศิลปะการแกะ, อักขระการจารแล้ว สุดท้ายต้องความเก่า ราหู อมจันทร์ที่ผ่านการใช้จะมีรอยเหี่ยวย่น ตามขอบกลมมนไม่มีคม ในร่องไม่ว่าจะด้านหน้า ซึ่งได้แก่ร่องที่แกะเป็นรูปยักษ์ หรือลายกนกต่าง ๆ หรือด้านหลังก็คือรอยจารอักขระต้องมีคราบความเก่า กรณีราหูอมจันทร์ถูกล้างให้สะอาด ต้องดูศิลป์และลายมือประกอบการตัดสินใจ ส่วนการเลี่ยมเก่า เช่น เลี่ยมเงิน เลี่ยมทอง เลี่ยมนาคเก่าก็มี ซึ่งบางตำราจะบอกว่าเป็นการเลี่ยมจากวัด แต่จริง ๆ แล้ว เมื่อได้รับราหูจากหลวงพ่อน้อยแล้ว ก็นำกลับมาเลี่ยมเองทั้งสิ้น และจากการสอบถามคนเก่าแก่ เช่น ช่างสี เมื่อตอนยังหนุ่มก็บอกเหมือนกันว่า ทางวัดไม่ได้เลี่ยม การเลี่ยมเก่าแค่เป็นการบ่งบอกถึงการเลี่ยมจากอดีตเท่านั้น

หลักการดูการเลี่ยมเก่า

ราหูอมจันทร์ ถ้าไปเจอแบบเลี่ยมเก่า ให้ดู

1. ให้ดูลวดลายการแกะ เช่น มีการฉลุบ้าง และให้จดจำลายกนกบางตัว จะชอบใช้ในอดีต ซึ่งปัจจุบันจะไม่แกะลายนั้นแล้ว

2. ให้ดูหู ราหูเลี่ยมเก่าส่วนใหญ่ หูจะเป็นหูตุ้ม คือกลม ๆ ส่วนเลี่ยมภายหลังจะเป็นห่วงบาง ๆ

3. ความเก่า ตามซอกส่วนใหญ่จะมีความเก่า, หมอง, ซีด ไม่สุกวาว

4. ด้านหลังมี 2 แบบ คือ เลี่ยมแบบมีฝาหลัง และแบบไม่มีฝาหลัง

ส่วนราหูอมจันทร์หลวงพ่อน้อย เลี่ยมนาคเก่า อันที่ท่านได้ชมอยู่นี้ จะเป็นศิลป์แบบนิยม ศิลป์แบบนี้จะเป็นยุคแรก ๆ ของหลวงพ่อน้อย คือจะติดศิลป์แบบโบราณนิด ๆ ส่วนเลี่ยมนาคเก่า ราหูอันนี้ใช้มาพอสมควร จนหูเป็นรอยชำรุดเล็กน้อย ศิลปะการแกะเป็นแบบยุคแรกของการเลี่ยม ส่วนเนื้อกะลาค่อนข้างเก่า เนื้อจัด ย่น ส่วนลายมือยังเห็นชัดเจน เป็นลายมือนิยมจารครบสูตรคือ 2 อย่าง จันทรุปราคากับสุริยุปราคา ส่วนพุทธคุณ เน้นไปทางโชคลาภ หนุนดวงชะตา และป้องกันคุณไสยได้ด้วย
ผู้เข้าชม
5587 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
ขายแล้ว
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
ร้านค้า
-
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
dangsichon785785
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงเทพ / 692-0-04529-8

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
AmuletManภูมิ IRaonsamuiมนต์เมืองจันท์ClassicpraBAINGERN
ep8600Le29Amuletว.ศิลป์สยามTotoTatoErawansomeman
ยุ้ย พลานุภาพchaithawatkaew กจ.Putanarintonfuchoo18สยามพระเครื่องไทย
holypanyadvmNongBossพระดี46ก้อง วัฒนาเสือรากไทรPannee26
Chumpholบ้านพระสมเด็จบ้านพระหลักร้อยสายน้ำอุ่นเจริญสุขAirphaputorn

ผู้เข้าชมขณะนี้ 1578 คน

เพิ่มข้อมูล

ราหูอมจันทร์ หลวงพ่อน้อย วัดศรีษะทอง เลี้ยมเงินเก่า




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
ราหูอมจันทร์ หลวงพ่อน้อย วัดศรีษะทอง เลี้ยมเงินเก่า
รายละเอียด
สุดยอดเบญจเครื่องรางชนิดหนึ่งซึ่งไม่มีใครไม่รู้จัก นั่นก็คือ "ราหูอมจันทร์ หลวงพ่อน้อย" หลวงพ่อน้อยใช้กะลาตาเดียวมาแกะเป็นรูปราหูอมจันทร์เป็นทรงกลม, ทรงสามเหลี่ยม และทรงเสมา ช่วงแรก ๆ หลวงพ่อน้อยจะเป็นคนแกะเอง ต่อมาราหูอมจันทร์เริ่มโด่งดัง หลวงพ่อน้อยจึงให้ลูกศิษย์มาช่วยแกะ และหลวงพ่อน้อยเป็นคนจารอักขระเอง ลูกศิษย์สายตรงได้แก่ อาจารย์ปิ่น และอาจารย์สม และช่างชาวบ้านที่ช่วยแกะและแกะได้สวยงามมากได้แก่ ช่างสี ช่างสีบ้านอยู่หลังวัดศรีษะทอง ช่างสีแกะราหูอมจันทร์ตั้งแต่ยุคหลวงพ่อน้อย จนถึงยุคอาจารย์ปิ่น ตอนนี้วิชาการแกะก็ถ่ายทอดสู่ลูก ๆ หลานไป

หลักการพิจารณาราหูอมจันทร์หลวงพ่อน้อย วัดศรีษะทอง

วิธีการสร้างราหูอมจันทร์ ซึ่งแกะจากกะลาตาเดียว หลวงพ่อน้อยได้สืบทอดวิชามาจากหลวงพ่อไตร ซึ่งช่วงแรก ๆ นั้น การแกะราหูอมจันทร์เป็นแบบง่าย ๆ โดยรูปทรงจะไม่แน่นอน จะเป็นสามเหลี่ยมบ้าง วงกลมบ้าง แต่ทุกชิ้นที่แกะจะค่อนข้างใหญ่ ส่วนอักขระที่จารก็เป็นขอมลาวทั้งสิ้น ต่อมาถึงยุคหลวงพ่อน้อยก็เริ่มแกะเป็นทรงเสมา ซึ่งเป็นมาตรฐานเล่นหากันจนถึงปัจจุบัน

หลักการพิจารณาแม่พิมพ์

แม่พิมพ์ซึ่งเกิดจากการแกะเราจึงควรเรียกว่า "ศิลปะแบบไหน" จะเข้าใจกว่า ราหูอมจันทร์แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ

1. ศิลป์โบราณ มีทั้งทรงสามเหลี่ยม ทรงกลม ทรงรี คือรูปทรงไม่แน่นอน แต่อันค่อนข้างใหญ่ มีทั้งแบบราหูหน้ายักษ์แบบมีแต่หัว และแบบอมจันทร์ แต่การแกะจะไม่ค่อยสวย แกะแบบง่าย ๆ มีทั้งลงรักปิดทอง และแบบเปลือย อักขระจารตัวค่อนข้างใหญ่

2. ศิลป์มาตรฐาน จะเป็นตั้งแต่ยุคหลวงพ่อน้อยลงมาถึงยุคอาจารย์ปิ่น ศิลป์แบบนี้จะเป็นมาตรฐาน ส่วนใหญ่จะเป็นทรงเสมาเป็นหลัก อักขระที่จารเป็นมาตรฐาน ควรเล่นแบบลายมือเป็นระเบียบขนาดตัวเล็กถึงขนาดกลาง ส่วนใหญ่จะจาร 2 สูตร คือ จันทรุปราคาและสุริยุปราคา

หลักการพิจารณาความเก่าเนื้อกะลา

ราหูอมจันทร์เมื่อพิจารณาศิลปะการแกะ, อักขระการจารแล้ว สุดท้ายต้องความเก่า ราหู อมจันทร์ที่ผ่านการใช้จะมีรอยเหี่ยวย่น ตามขอบกลมมนไม่มีคม ในร่องไม่ว่าจะด้านหน้า ซึ่งได้แก่ร่องที่แกะเป็นรูปยักษ์ หรือลายกนกต่าง ๆ หรือด้านหลังก็คือรอยจารอักขระต้องมีคราบความเก่า กรณีราหูอมจันทร์ถูกล้างให้สะอาด ต้องดูศิลป์และลายมือประกอบการตัดสินใจ ส่วนการเลี่ยมเก่า เช่น เลี่ยมเงิน เลี่ยมทอง เลี่ยมนาคเก่าก็มี ซึ่งบางตำราจะบอกว่าเป็นการเลี่ยมจากวัด แต่จริง ๆ แล้ว เมื่อได้รับราหูจากหลวงพ่อน้อยแล้ว ก็นำกลับมาเลี่ยมเองทั้งสิ้น และจากการสอบถามคนเก่าแก่ เช่น ช่างสี เมื่อตอนยังหนุ่มก็บอกเหมือนกันว่า ทางวัดไม่ได้เลี่ยม การเลี่ยมเก่าแค่เป็นการบ่งบอกถึงการเลี่ยมจากอดีตเท่านั้น

หลักการดูการเลี่ยมเก่า

ราหูอมจันทร์ ถ้าไปเจอแบบเลี่ยมเก่า ให้ดู

1. ให้ดูลวดลายการแกะ เช่น มีการฉลุบ้าง และให้จดจำลายกนกบางตัว จะชอบใช้ในอดีต ซึ่งปัจจุบันจะไม่แกะลายนั้นแล้ว

2. ให้ดูหู ราหูเลี่ยมเก่าส่วนใหญ่ หูจะเป็นหูตุ้ม คือกลม ๆ ส่วนเลี่ยมภายหลังจะเป็นห่วงบาง ๆ

3. ความเก่า ตามซอกส่วนใหญ่จะมีความเก่า, หมอง, ซีด ไม่สุกวาว

4. ด้านหลังมี 2 แบบ คือ เลี่ยมแบบมีฝาหลัง และแบบไม่มีฝาหลัง

ส่วนราหูอมจันทร์หลวงพ่อน้อย เลี่ยมนาคเก่า อันที่ท่านได้ชมอยู่นี้ จะเป็นศิลป์แบบนิยม ศิลป์แบบนี้จะเป็นยุคแรก ๆ ของหลวงพ่อน้อย คือจะติดศิลป์แบบโบราณนิด ๆ ส่วนเลี่ยมนาคเก่า ราหูอันนี้ใช้มาพอสมควร จนหูเป็นรอยชำรุดเล็กน้อย ศิลปะการแกะเป็นแบบยุคแรกของการเลี่ยม ส่วนเนื้อกะลาค่อนข้างเก่า เนื้อจัด ย่น ส่วนลายมือยังเห็นชัดเจน เป็นลายมือนิยมจารครบสูตรคือ 2 อย่าง จันทรุปราคากับสุริยุปราคา ส่วนพุทธคุณ เน้นไปทางโชคลาภ หนุนดวงชะตา และป้องกันคุณไสยได้ด้วย
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
6801 ครั้ง
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
URL
-
เบอร์โทรศัพท์
0907178757.......0945782578
ID LINE
dangsichon785785
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงเทพ / 692-0-04529-8




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี